วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ข้อมูลหลุมเจาะ อำเภอบ้านหมี่




จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับหลุมเจาะ ของอำเภอ บ้านหมี่ จังหวัด ลพบุรี ได้โครงการวิเคราะห์หาสาเหตุของการชำรุดของถนนลาดยาง ต.-อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี มีข้อมูลการขุดเจาะทั้งหมดจำนวน 4 หลุม


BH 1.1















หลุมที่ 1 มีความลึก 6.45 m.





BH2.1



















หลุมที่2 มีความลึก 6.45 m.






BH3.1





















หลุมที่3 มีความลึก 6.45



BH4.1





















หลุมที่4 หลุมมีความลึก 6.45 m.

หินปูน (CaCO3) ที่ใช้ในงานก่อสร้าง



หินปูน (CaCO3)

ข้อมูลทั่วไป

หินปูนจัดอยู่ในกลุ่มของหินชั้น ซึ่งประกอบขึ้นจากแร่แคลไซต์ (แคลเซียมคาร์บอเนต) และสารตกตะกอน หินปูนเกิดจาก การทับถมของสารอนินทรีย์และซากสิ่งมีชีวิตในท้องทะเลภายใต้ความกดดัน เช่น ปะการัง และกระดองสัตว์ จากนั้นซากฟอสซิล เหล่านี้จึงตกผลึกใหม่กลายเป็นแร่แคลไซต์เมื่อหยดน้ำส้มสายชูลงบนหินปูน จะเกิดฟองฟู่ ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าแร่ชนิดนี้ ละลายได้ดีในกรด หรือแช่หินปูนในกระปุก น้ำส้มสายชู ปิดฝาทิ้งไว้ จะสังเกตเห็นฟองที่เกิดจาก แคลเซียมคาร์บอเนต และหลังจากนั้นสองสามวัน จะพบว่า ก้อนหินละลายออกเป็นส่วนๆชอล์กนับว่าเป็นหินปูนชนิดหนึ่งซึ่งทำมาจากอินทรียสาร ที่มีขนาดเล็กมาก ชอล์กมักมีสีขาวและเทาหินปูนเป็นแร่ที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง เนื่องจาก ใช้ผสมคอนกรีต ทำซีเมนต์ ปูน หรือใช้เป็นหิน สำหรับก่อสร้างได้ นอกจากนี้ยังนำหินปูนมาใช้ในอุตสาหกรรม การผลิตแก้ว เป็นสารฟิลเลอร์ ผงขัด สารบำรุงดิน หรือผลิตสารเคมีอื่นๆ ส่วนปูนขาวเกิดจากกระบวนการ แคลซิเนชั่น (calcination) กล่าวคือ ทำให้หินปูนมีอุณหภูมิสูง ถึงจุดที่คาร์บอเนตหลอมละลาย (402- 898 องศาเซลเซียส) จนกระทั่งเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ นอกจากคำว่า “ปูน” จะหมายถึงหินปูนบดแล้ว ยังหมายถึงปูนขาวและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้อีกด้วย

ประโยชน์การใช้งาน

หินปูนสามารถใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง การผลิตปูนซีเมนต์ และแก้ว ส่วน หินปูนบดช่วยรักษาค่า PH ในดินและแหล่งน้ำ ซึ่งได้รับผลกระทบจากภาวะฝนกรดวิธีการผลิตซีเมนต์ทำได้โดยอบการเผาหินปูนบดในเตาเผา นำซีเมนต์ไปผสมกับน้ำ ทราย และหินกรวด จนเกิดปฏิกิริยาทางเคมีก ลายเป็นคอนกรีต ส่วนวิธีการผลิตแก้วทำได้โดยผสมหินปูน ทราย และโซดา (โซเดียมคาร์บอเนต) เข้าด้วยกัน

วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

เนื้อหารายวิชา CEN370 Engineering Geology

http://www.csus.edu/geology/geo_Learning Objectives:

1. Recognize, classify and compute the internal and external engineering properties of naturalmaterials.2. Outline the distribution of stresses and strains on natural materials under normal and adverseconditions.3. Discuss gross and specific characteristics of geologic materials and their inherent effect on thestability of natural and man-made structures.4. Develop a quantitative understanding of natural processes (earthquakes, landslides, floods, etc.)and the appropriate engineering considerations for structures built in areas where they occur.5. Understand and be able to apply general geophysical principles to characterize physical propertiesof natural materials.students/syllabi/Geol%20293%20Cornwell.pdf

Landmark

http://maps.google.co.th/maps?f=q&source=s_q&hl=th&geocode=&q=%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3&sll=15.084389,102.216797&sspn=0.08105,0.094585&ie=UTF8&hq=&hnear=%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3+%E0%B8%AD.%E0%B8%9B%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99+%E0%B8%88.%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87&ll=7.091864,99.590549&spn=0.0833,0.094585&z=13

ประวัตินักวิศวกร


หลายศตวรรษที่ผ่านมา มนุษย์ได้ท้าทาย ข้อจำกัด ทาง สถาปัตยกรรม และวิศวกรรม เพื่อ ความ พยายาม ที่จะได้ใกล้ชิดกับ พระเจ้ามากขึ้น บ้างก็พยายามแสวงหา ประโยชน์ใช้สอยจาก หอคอยโดยการ ทำเสาอากาศ ภัตตาคาร แต่ความคิดที่ บริสุทธิ์ ซึ่ง แฝงอยู่ในนั้น กลับเป็น สิ่งที่น่า ดึงดูดใจยิ่งกว่า
หอคอยเป็นเครื่อง แสดงให้เห็น ถึง ความทะเยอทยานของ มนุษย์ ที่ไม่มี วันสิ้นสุด และหอคอยอันเป็นที่รัก ของชาวโลกมากที่สุดคือ "หอไอเฟล" (Eiffel Tower) ผลงานชิ้นเอก ในการ ฉลองการปฏิวัติฝรั่งเศส อันนองเลือดเมื่อ 100กว่าปีก่อน ณ กรุงปารีส ประเทศ ฝรั่งเศส ความสูงที่เสียดฟ้า ความ โดดเด่น เป็นสง่า และรูปทรงที่อ่อนช้อย คือเครื่องสะท้อนให้เห็นถึง จิตวิญญาณของชาวฝรั่งเศส เป็นสิ่งที่ชาญฉลาด ทางเทคโนโลยี ในอดีตไม่เคยมีใครสร้าง หอคอยที่สูงกว่า 1,000 ฟุต หลายคนพยายามลอง แม้กระทั่งสหรัฐอเมริกาเอง ก็มี การ ออกแบบ ไว้อยู่ หลายแบบ แต่ก็ไม่เคยสร้างจริง ขึ้นมา
วันนี้ Biography จึงจะพาคุณย้อน อดีตไปรู้จักกับ วิศวกรคนเก่ง ที่ออกแบบ หอยคอยอัศจรรย์นี้ขึ้น เขาคือ “ กุสตาฟ ไอ-เฟล” ( Gustave Eiffel)
กุสตาฟ ไอเฟลได้ชื่อว่าเป็น วิศวกรและ สถาปนิกชาวฝรั่งเศส ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่ง ในช่วงปลาย ศตวรรษที่19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 1832 ณ เมืองดิฌง ประเทศฝรั่งเศส ในช่วงวัยเด็กเขาและ ครอบครัวได้อาศัยอยู่ในเมืองแห่งนี้ จวบจนไอเฟลเจริญวัย เขาจึงตัดสินใจไปศึกษาต่อใน กรุงปารีส
จากนั้นมา ไอเฟล ก็ ทุ่มเท ทั้งแรงกาย และใจกับ การคิดค้น ออก แบบ สถาปัตยกรรม ที่ใช้โครง เหล็กเป็น อย่างมาก ในปี 1887 เขาและ เพื่อน ร่วมงานอีก 2 คน คือ เวอร์ริส คลอกลิน และเอมิล เลจิเย ที่ ได้รับงานสร้าง หอคอยสูง เสียดฟ้า ร่วมกัน เพื่อใช้เป็น สถานที่จัดงาน แสดงสินค้า ในปี 1890 ทั้งสามใช้เวลา สร้าง หอคอย ดังกล่าว รวม 2 ปี 2 เดือน กับ อีก 5 วัน ซึ่งผลงานที่ ออกมานั้นก็ ความ ประทับใจให้ แก่ชาวปารีส ไม่น้อย ซึ่งอาจ จะเป็น เพราะว่า ในช่วงนั้นยัง ไม่เคย มีใคร สามารถสร้าง หอคอยที่ มีความสูง ถึง 300 เมตร มาก่อน ประกอบกับ รูปทรง และวิธีการ สร้าง ก็ไม่ซ้ำ แบบ ใคร จึงทำให้ หอ คอย ดังกล่าว กลายเป็น สัญลักษณ์ ของ ประเทศ ฝรั่งเศส และเป็น อีก หนึ่งใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ ของ โลกด้วย
ในตอนแรกนั้นหอคอย ดังกล่าว ยังไม่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งต่อมาไอเฟลได้เข้ามาทำหน้าที่ดูแล หอคอยดังกล่าว จึงมีการขนานนามหอคอยแห่งนี้ว่า 'หอไอเฟล' ผลงานของไอเฟลยังมีอีกมาก มายไม่ว่า จะเป็น การออกแบบ โครงสร้างเหล็กให้กับสะพานต่างๆ ทั่วยุโรป หรือการออก แบบโครงเหล็กของเทพีเสรีภาพที่ รัฐบาลฝรั่งเศส มอบให้รัฐบาล สหรัฐฯ เพื่อเป็นของขวัญเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปีที่สหรัฐฯ ประกาศเอกราชก็ตาม
ชีวิตของไอเฟลมาถึงจุดตกต่ำที่สุด เมื่อตอนที่เขา เข้าร่วม โครงการสร้างคลองปานามากับ เฟอร์ดินัน เดอ เลเซต ซึ่งโครงการดังกล่าว ล้มเหลวทำให้รัฐบาลฝรั่งเศส ในฐานะผู้ลงทุนเกือบถึงขั้น ล้มละลายเลยทีเดียว ไอเฟลเอง ถูกตัดสิน ให้จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่ต่อมาเขาก็ ได้รับการยกเว้นโทษ จากนั้น เขาก็ได้อุทิศตัวเองให้ กับการค้นคว้าด้านอากาศ พลศาสตร์ เขาสร้างห้องทดลองเพื่อ ศึกษาแรงต้านทานลม และสร้างอุโมงค์ ลมขึ้น เป็น แห่งแรกด้วย
จริง ๆ แล้วตอนแรก เขาตั้งใจ จะ เข้า เรียนต่อ ที่ "L'Ecole Polytechnique "ซึ่ง เป็น สถาบัน อาชีวะ ที่มีชื่อเสียง ในประเทศ ฝรั่งเศส ทว่า เขาพลาดไปในตอนสอบ ปาก เปล่า จึงทำให้ต้อง หันมาเรียนที่ สถาบัน Ecole Centrale de Paris แทน
หลังจบการศึกษาไอเฟลเริ่มต้น ชีวิตการทำงานด้วยการ เป็นเลขาฯ ของชาร์ลส์ เนอป์เวอ ซึ่งเป็นผู้ชักนำเขาให้ ก้าวเข้า สู่วงการการก่อสร้างโดย ใช้โครงเหล็ก ปี 1862 ไอเฟลตัดสินใจแต่งงานกับ มารี โกลเดอเลต์ และทั้งคู่ก็มีพยานรักด้วยกัน ถึง 5 คน เป็นชาย 2 คน และ หญิง 3 คน แต่ชีวิตสมรสของ ทั้งคู่ดำเนิน ไปได้ไม่นานก็ มีอันต้องจบลง เมื่อผู้เป็นภรรยา สุดที่รัก ของเขา ได้ถึงแก่กรรมในปี 1877
ไอเฟลเสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ปี 1923 ด้วยวัย 91 ปี ถึงเป็นบุคคลสำคัญของโลก ที่มีอายุยืนยาวคนหนึ่ง วิสัยทัศน์ของเขาส่งผลให้ฝรั่งเศส กลายเป็น ประเทศแถวหน้าด้าน เทคโนโลยีการออกแบบ โครงสร้างเหล็ก ของโลกใน ยุคต่อมาด้วย
โบราณ